วันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2553

ใบงานที่ 12

ส่วนประกอบหลักของ SPSS FOR WINDOWS-Title Bar บอกชื่อไฟล์-Menu Bar คำสั่งการทำงาน-Cell Editor กำหนดค่าตัวแปร-Cases ชุดของตัวแปร-Variable กำหนดชื่อตัวแปร-View Bar มีสองส่วน--Variable View สร้างและแก้ไขโครงสร้างตัวแปร--Data View เพิ่มและแก้ไขตัวแปร-Status Bar แสดงสถานการณ์ทำงานเปิด SPSS Data EditorFile -> New -> Dataกำหนดชื่อและรายละเอียด จากหน้าจอ Variable Viewป้อนข้อมูล Data Viewบันทึกข้อมูลFile -> Saveการกำหนดชื่อและรายละเอียดตัวแปรที่หน้าจอ SPSS Data Editor เรียกหน้าจอ Variable View ทำได้ 2 วิธี1. ดับเบิลคลิกตรงคอลัมน์ของบรรทัดแรก 2. คลิกแถบ Variable View ที่อยู่ด้านล่างเมื่อได้หน้าต่างของ Variable View1. Name ชื่อตัวแปร ให้พิมพ์ตรงคอลัมน์ Name เช่น Sex 2. Type ประเภทของตัวแปร เลือก Numeric Width=1 Decimal Places=0 คลิกปุ่ม OK 3. Label กำหนดข้อความขยายชื่อตัวแปร เพื่ออธิบายชื่อตัวแปรและแสดงออกทางผลลัพธ์ ให้พิมพ์ตรงคอลัมน์ Label เช่น เพศ4. Values กำหนดคำอธิบายให้กับค่าตัวแปร 5. Missing กำหนดค่าที่ไม่นำไปวิเคราะห์ มี 2 แบบ 5.1 User Missing ผู้วิจัยเป็นผู้กำหนด เช่น 9, 99, 999, …5.2 System Missing โปรแกรมจะกำหนดให้เอง6. Column จำนวนความกว้างของคอลัมน์ คือจำนวนความกว้างมากสุดของ ค่าตัวแปร หรือ ชื่อตัวแปร หรือ label ตัวแปร จากตัวอย่าง ชื่อตัวแปร และ label ตัวแปร มีความกว้างมากสุดเท่ากับ 3ให้พิมพ์ 4 (ความกว้างมากสุดเท่ากับ 3 บวกเผื่อไว้ 1)7. Align ให้แสดงค่าตัวแปร ชิดซ้าย กึ่งกลาง ชิดขวา 8. Measure ระดับการวัดของข้อมูล 7.1 Scale (Interval, Ratio)7.2 Ordinal7.3 Nominalให้กำหนดชื่อและรายละเอียดของตัวแปรให้ครบทุกตัวการวิเคราะห์ข้อมูล1. คลิกที่เมนู Analyze เลือก Descriptive Statistic และเลือก Frequencies 2. จากนั้นเราจะได้กรอบ Frequencies กรอบ Frequencies ทางช่องซ้ายมือเป็นตัวแปรต่างๆ ที่ได้จากแบบสอบถาม ทางช่องขวามือจะเป็นส่วนเลือกตัวแปรเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล 3. เราจะเลือกตัวแปรโดยการคลิกที่ตัวแปรที่ต้องการวิเคราะห์ทางซ้ายมือ จากนั้นคลิกปุ่มเลือก(สามเหลี่ยมสีดำ)ตัวแปรที่ต้องการวิเคราะห์ก็จะตกไปอยู่ทางช่องขวามือ ในที่นี้ให้เลือกทั้งหมดทุกตัวแปร 4.คลิกปุ่ม Statistics แล้วจะได้กรอบ Frequencies Statistics 5. เลือกประเภทการวิเคราะห์ข้อมูล ในที่นี้เราจะวิเคราะห์ Central Tendency และ Dispersion โดยส่วน Central Tendency เลือก Mean, Median, Mode, Sum และส่วน Dispersion เลือก Std. deviation, Minimum, Maximum เลือกเสร็จเรียบร้อยแล้วให้คลิกปุ่ม Continueเมื่อคลิกปุ่ม Continue จะกลับมาที่กรอบ Frequencies Statistics 6. ต่อไปให้คลิกปุ่ม Charts จะได้กรอบ Frequencies Charts ในส่วน Frequencies Charts นี้ท่านสามารถเลือก Chart Type ว่าต้องการเป็น Charts ชนิดใด ในที่นี้ให้เลือก Bar charts แล้วคลิก Continue 7. เมื่อคลิกปุ่ม Continue จะกลับมาที่กรอบ Frequencies Statisticsจากนั้นคลิกปุ่ม OK ก็เป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล

ใบความรู้ที่ 11

- เป็นรายวิชาที่ทันสมัยทันเหตุการณ์ดีมาก
- ตั้งใจถ่ายทอดความรู้ให้กับศิษย์
- เนื้อหาที่สอนดีมาก แต่ตามไม่ค่อยทัน
- สื่อการสอนดี พร้อม
- ควรสอนให้ช้ากว่านี้หน่อยคะ

ใบงานที่ 10

ชื่อ นางสุภาพ พฤษำ ชื่อเล่น แตน
สถานที่เกิด จ.ชุมพร
ปัจจุบันพักอยู่บ้านเลขที่ 171/2 ม.15 ต.ท่าเรือ อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
ประวัติการศึกษา
- ประถมศึกษา โรงเรียนสหศึกษา จ.ชุมพร
- มัธยมศึกษา โรงเรียนสอาดเผอิมวิทยา จ.ชุมพร
- ปวส. โรงเรีนนครพาณิชยการ นครศรีธรรมราช
- ระดับปริญญาตรี สถาบันราชภัฎสุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี
- ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ปัจจุบันกำลังศึกษาต่อในระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช
ปัจจุบัน ครู โรงเรียนวัดหมน ต.ท่าเรือ จ.นครศรีธรรมราช

วันเสาร์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2553

ใบงานที่ 9 คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ

1.ผู้ที่มีคุณธรรมจริยธรรม ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างซื่อสัตย์ ไม่คอรัปชั่นคือมีความโปร่งใส มีความยุติธรรม เสียสละเป็นคนดีของสังคมมีจิตวิญญาณนักบริหาร คืออุทิศตนเพื่อหน้าที่ ดำเนินชีวิตและทำงานบนพื้นฐานของเหตุผล ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี2.ผู้ที่มีศิลป์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น คนงานกับผู้อื่นโดยยึดว่า “คนสำราญ งานสำเร็จ3.ผู้ที่ความรอบรู้ และรู้รอบ สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ได้อย่างดี มีความรู้ความสามารถทางด้านการบริหาร เป็นผู้นำทางวิชาการ ทันต่อเหตุการณ์ มีความสามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหาร มีความสามารถในการประสานงาน


Free Blogger Templates by Isnaini Dot Com. Powered by Blogger and Supported by Lincah.Com - Hyundai Cars